เปรียบเทียบเคมีบำบัดเพิ่มความเข้มข้นและเคมีบำบัดเสริมในมะเร็งเต้านมระยะแรก by kmadmin |
บทความเรื่อง Effect of Tailored Dose-Dense Chemotherapy vs Standard 3-Weekly Adjuvant Chemotherapy on Recurrence-Free Survival Among Women with High-Risk Early Breast Cancer: A Randomized Clinical Trial รายงานว่า การรักษาด้วยเคมีบำบัดขนาดยามาตรฐานซึ่งประเมินตามพื้นที่ผิวกายส่งผลต่อความแปรปรวนด้านเภสัชจลนศาสตร์ ผลข้างเคียง และประสิทธิภาพการรักษา และปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลว่าการปรับขนาดยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยเป็นรายกรณีสามารถช่วยให้ผลลัพธ์ดีขึ้นหรือไม่ รวมถึงบทบาทของเคมีบำบัดเสริมโดยบริหารยาแบบเพิ่มความเข้มข้น (dose-dense adjuvant chemotherapy) อ่านต่อ... |
GLP-1 analogues และความเสี่ยงมะเร็งเต้านมในเบาหวานชนิดที่ 2 by kmadmin |
บทความเรื่อง Glucagon-like Peptide-1 Analogues and Risk of Breast Cancer in Women with Type 2 Diabetes: Population Based Cohort Study Using the UK Clinical Practice Research Datalink รายงานข้อมูลจากการศึกษาความเสี่ยงที่สูงขึ้นต่อการเกิดมะเร็งเต้านมจากการใช้ glucagon-like peptide-1 (GLP-1) analogues โดยเทียบกับ dipeptidyl peptidase-4 (DPP-4) inhibitors
อ่านต่อ... |
Ribociclib แบบ First-Line Therapy สำหรับมะเร็งเต้านม HR-Positive by kmadmin |
N Engl J Med 2016;375:1738-1748 อ่านต่อ... |
อ้วนกับโรคมะเร็ง by kmadmin |
พวกเราทุกๆคนคงทราบบ้างแล้วว่าความอ้วนนั้นไม่ดีต่อสุขภาพ สามารถจะทำให้เป็นโรคต่างๆได้มากมาย โดยเฉพาะโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคอื่นๆอีกมากมาย แต่หลายๆท่านคงไม่ทราบว่าผู้ที่อ้วนนั้นมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งอีกด้วย อ่านต่อ... |
มะเร็งต่อมลูกหมากโยงรอบเอว by kmadmin |
อ่านต่อ... |
เคมีรังสีบำบัดและเคมีบำบัดต่อการรอดชีพในมะเร็งตับอ่อน by kmadmin |
JAMA. 2016;315(17):1844-1853.
อ่านต่อ... |
ครีมกันแดดกับมะเร็งผิวหนัง by kmadmin |
อ่านต่อ... |
โรคตับอักเสบซีโยงมะเร็งที่ศีรษะและคอ by kmadmin |
ฟ็อกซ์นิวส์ – โรคตับอักเสบซีอาจเป็นสาเหตุให้ความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งที่ศีรษะและคอเพิ่มขึ้นกว่า 2 เท่า
อ่านต่อ... |
ไม่แปรงฟัน ระวังมะเร็งช่องปาก by kmadmin |
งานวิจัยล่าสุด ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ The Journal Cancer Research ชี้ให้เห็นว่า การไม่แปรงฟันเป็นประจำอาจส่งผลต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ อ่านต่อ... |
แต๊บๆ มะเร็งองคชาต by pooky |
ต้นเดือนที่ผ่านมามีข่าวสาวประเภทสองคนดังในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กโชคร้ายเป็นมะเร็งองคชาต โดยมีความเชื่อว่าการเก็บหรือหลบหรืออำพรางซ่อนเร้นอวัยวะเพศชาย ที่คนรุ่นใหม่รู้จักกันในคำว่า “แต๊บ” เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งองคชาต ทำเอาผู้คนพากันให้ความสนใจกับโรคนี้กันยกใหญ่
อ่านต่อ... |
มะเร็งหายขาดแล้วจริงหรือ by pooky |
เป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกคนที่ได้รับการรักษา ต่างก็อยากหายขาดจากโรคมะเร็งกันทั้งนั้น จนเป็นคำถามยอดฮิตที่ผู้ป่วยมักจะถามแพทย์ผู้รักษาเสมอว่า ตัวเองมีโอกาสหายขาดมั้ย หรือหายขาดรึยัง หลังจากที่รักษาไประยะหนึ่งแล้ว แท้จริงแล้วมีหลายประเด็นที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการหายขาดจากโรคมะเร็ง อ่านต่อ... |
ว่าด้วยกัญชากับมะเร็ง by pooky |
อ่านต่อ... |
ติ่งเนื้อปากทวารหนัก:มะเร็ง หูด ริดสีดวง? by pooky |
ก่อนอื่นมาทำความรู้จักทวารหนักกันก่อน ทวารหนักตามหลักกายวิภาคไม่ได้มีแค่รูทวารภายนอกที่เราเห็น แต่ครอบคลุมเข้าไปภายในรูทวารสูงขึ้นไปจากปากทวารหนักอีก 3-5 เซนติเมตร มีความสำคัญเนื่องจากมีหน้าที่เกี่ยวกับการกลั้นอุจจาระ เพราะมีกล้ามเนื้อหูรูด 2 ชนิดคือกล้ามเนื้อหูรูดภายในและกล้ามเนื้อหูรูดภายนอก โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหูรูดภายนอกนั้นอยู่ภายใต้การควบคุมตามที่สมองสั่งการ อาการติ่งเนื้อที่บริเวณปากทวารหนักอาจจะเป็นได้ตั้งแต่ติ่งเนื้อธรรมดา หูด ริดสีดวงทวารหนัก แผลฉีกขาดเรื้อรัง รวมถึงมะเร็ง ซึ่งแพทย์สามารถตรวจวินิจฉัยแยกโรคได้ไม่ยาก ด้วยการดูภายนอก การใช้นิ้วคลำในรูทวารหนัก และการส่องกล้องพรอคโตสโคปเพื่อดูหน้าตาเยื่อบุทวารหนัก ถ้าไม่แน่ใจก็ตัดชิ้นเนื้อบริเวณที่สงสัยมาตรวจกันไป อ่านต่อ... |
ความเสี่ยงมะเร็งชนิดที่ 2 หลังการรักษา Hodgkin’s Lymphoma by pooky |
บทความเรื่อง Second Cancer Risk Up to 40 Years after Treatment for Hodgkin’s Lymphoma รายงานว่า ผู้ป่วยที่รอดชีวิตจากมะเร็ง Hodgkin’s lymphoma มีความเสี่ยงสูงขึ้นต่อ malignant neoplasms ที่สัมพันธ์กับการรักษาขณะที่ยังไม่มีข้อมูลด้านความเสี่ยงระยะยาวต่อมะเร็งชนิดที่ 2จากการรักษาอันมีผลข้างเคียงน้อยกว่าซึ่งเริ่มเป็นที่รู้จักในช่วงปลายทศวรรษที่ 80 อ่านต่อ... |
เซเลเนียมกับความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง by pooky |
มะเร็งนับเป็นภัยร้ายที่คุกคามชีวิตผู้คนทั่วโลกอย่างรุนแรง ข้อมูลในปี พ.ศ. 2555 จากองค์การอนามัยโลกแสดงให้เห็นว่า ทั่วโลกมีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ประมาณ 14 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งสูงถึง 8.2 ล้านคน จำนวนผู้ป่วยใหม่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 70% ใน 20 ปีต่อไป สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ได้รายงานว่า ในปี พ.ศ. 2555 มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ที่มารับบริการที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 3,917 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2546 ที่มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่เพียง 2,958 คน โดยมะเร็งที่พบมากสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งหลอดลมและปอด แม้ว่าในปัจจุบันจะมีวิธีการรักษามะเร็ง เช่น เคมีบำบัด หรือการฉายรังสี แต่วิธีการรักษาดังกล่าวมีผลข้างเคียงสูง และกระทบต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การหาทางเลือกอื่นจึงเป็นโจทย์ที่ท้าทายสำหรับนักวิจัย โภชนาการก็นับเป็นทางเลือกหนึ่งที่ได้รับการศึกษาเกี่ยวกับการป้องกันและรักษามะเร็ง อ่านต่อ... |
ผลลัพธ์ระยะยาว Triptorelin ในเคมีบำบัด มะเร็งเต้านม by pooky |
บทความเรื่อง Ovarian Suppression with Triptorelin during Adjuvant Breast Cancer Chemotherapy and Long-term Ovarian Function, Pregnancies, and Disease - Free Survival: A Randomized Clinical Trial รายงานว่า ปัจจุบันผลลัพธ์การรักษาการทำงาน ของมดลูกจากการให้ luteinizing hormonereleasing hormone analogues (LHRHa) ระหว่างเคมีบำบัดยังคงเป็นที่ถกเถียงกันเนื่องจากขาดข้อมูลการทำงานของมดลูกและการตั้งครรภ์ในระยะยาว รวมถึงความกังวลด้านความปลอดภัยจากปฏิกิริยาด้านลบระหว่างฮอร์โมนบำบัดและเคมีบำบัด อ่านต่อ... |
ยา Fosaprepitant ช่วยลดอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากยาเคมีบำบัด by pooky |
Medscape Medical News: FDA ของประเทศสหรัฐอเมริกามีมติรับรองให้สามารถใช้ยาใหม่ คือ Fosaprepitant dimeglumine ซึ่งเป็นยาในกลุ่ม substance P/neurokinin-1 (NK1) receptor antagonist เพื่อการรักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากยาเคมีบำบัดแล้ว โดยอ้างอิงจากหลักฐานการศึกษาในระยะที่ 3 เกี่ยวกับการใช้ยานี้ร่วมกับยา ondansetron และdexamethasone ในการรักษาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งเป็นอาการข้างเคียงที่สำคัญจากการใช้ยาเคมีบำบัดหลายชนิด อ่านต่อ... |
ยาปฏิชีวนะช่วยป้องกันการติดเชื้อ ระหว่างการให้ยาเคมีในเด็ก by pooky |
Medscape Medical News: การให้ยาเคมีบำบัดในครั้งแรกสำหรับเด็กที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว acute lymphocytic leukemia (ALL) มักทำให้ภูมิคุ้มกันลดลงอย่างมากจนเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ แต่ผลการศึกษาล่าสุดชี้ว่า การให้ยาปฏิชีวนะในระยะนี้ช่วยทำให้การติดเชื้อลดลงได้อย่างชัดเจน อ่านต่อ... |
รักษาโรคมะเร็งได้ผลดียิ่งขึ้นด้วยน้องหมา by pooky |
Medscape Medical News: ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดควบคู่กับการฉายแสงมีความรู้สึกทางอารมณ์และสังคมที่ดีขึ้นเมื่อได้เล่นกับสุนัข โดยมีหลักฐานข้อมูลจากการศึกษาของ Stewart Fleishman จากสถาบัน Continuum Cancer Centers of New Yorks ซึ่งได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับภาวะทางอารมณ์และสังคมของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ต้องได้รับยาเคมีบำบัดควบคู่ไปกับการฉายแสงข้อมูลที่ได้มาจากผู้ป่วยจำนวน 37 รายที่ป่วยเป็นมะเร็งของอวัยวะต่าง ๆ และเกือบทั้งหมดอยู่ในระยะแพร่กระจายแล้ว อ่านต่อ... |
ยารักษาอาการท้องผูกช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งรอดชีวิตได้นานขึ้น by pooky |
Medscape Medical News: ปัจจุบันมีข้อมูลหลายชิ้นที่บ่งชี้ว่า ยาในกลุ่ม opioids ซึ่งใช้ในการรักษาอาการปวดจากมะเร็งอาจมีส่วนทำให้โรคดำเนินไปเร็วขึ้น โดยอาจมีการกระตุ้นผ่านตัวรับของ opioidsบางชนิดในเนื้อเยื่อมะเร็งและมีข้อมูลแสดงให้เห็นว่า ยา methylnaltrexone ซึ่งในปัจจุบันได้ถูกนำมาใช้ในการรักษาอาการท้องผูกในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยา opioids อาจช่วยทำให้โรคดำเนินช้าลง และผู้ป่วยมีชีวิตได้นานขึ้น อ่านต่อ... |
Akynzeo แก้คลื่นไส้และอาเจียนจากยามะเร็ง by pooky |
Netupitant + Palonosetron (Akynzeo) ยาแก้อาการคลื่นไส้และอาเจียนจากการใช้ยาเคมีบำบัดที่เพิ่งได้รับอนุมัติจาก FDA ยา Palonosetron ชนิดรับประทานได้รับอนุมัติเมื่อปี ค.ศ. 2008 ป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนเฉียบพลัน (ภายใน 24 ชั่วโมง) หลังจากได้รับยาเคมีบำบัดรักษาโรคมะเร็ง ส่วน Netupitant เป็นยาใหม่ในการป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนในระยะยาว (จาก 25-120 ชั่วโมง) หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด อ่านต่อ... |
มีเซ็กซ์มากป้องกันต่อมลูกหมากจริงหรือ by pooky |
HealthDay News: ผู้ชายเจ้าชู้โปรดฟัง ผู้ที่หลับนอนกับผู้หญิงจำนวนมากมีโอกาสจะเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากน้อยกว่าคนที่ไม่ค่อยมีเซ็กซ์ นี่เป็น ผลการวิจัยจากแคนาดา อ่านต่อ... |
บำบัดมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยฮอร์โมน by pooky |
HealthDay News: การใช้ฮอร์โมนบำบัดรักษาโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในผู้ชายที่เป็นโรคหัวใจด้วยอาจเสี่ยงต่อการตายจากโรคหัวใจ วิธีการรักษาที่เรียกว่า androgen deprivation therapy (ADT) เพื่อลดระดับฮอร์โมนเพศชายเพื่อป้องกันการเจริญของเซลล์มะเร็ง จากการศึกษานี้พบว่าฮอร์โมนตัวนี้ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการตายด้วยโรคหัวใจถึง 3 เท่าจากอาการหัวใจวาย อ่านต่อ... |
เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากควรรู้กลยุทธ์ by pooky |
HealthDay News: ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ต่อมลูกหมากยังขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและรู้สึก ยากที่จะตัดสินใจในการเลือกวิธีรักษาที่ดี ผลก็คืออาจทำให้คุณภาพในการดูแลรักษาและผลระยะยาวแย่ลงได้ อ่านต่อ... |
Imbruvica รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว by pooky |
Imbruvica (ibrutinib) เป็นยารักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเจริญช้าตัวใหม่ที่เพิ่งได้รับอนุมัติจาก FDA ให้ออกจำหน่ายได้ Imbruvica เป็นยาแค ปซูลใช้รับประทานวันละครั้งรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า chronic lymphocytic leukemia (CLL) ในคนไข้ที่เคยได้รับการรักษาด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งมาก่อนแล้ว FDA ยังอนุมัติให้ใช้กับคนไข้ CLL ที่มียีนก่อกลายพันธุ์ del 17p ซึ่งเกิด เมื่อมีส่วนของโครโมโซม 17 สูญเสียไป คนไข้ CLL ที่มีการก่อกลายพันธุ์ del 17p นับเป็นโรคที่พยากรณ์โรคได้ไม่ดี อ่านต่อ... |
ตรวจยีนช่วยการรักษามะเร็งปอด by pooky |
HealthDay News: การตรวจคัดกรองยีนในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดช่วยในการรักษาได้ตรงเป้า และยืดอายุคนไข้ได้ อ่านต่อ... |
พบเซลล์ต้นกำเนิดที่ทำให้เป็นมะเร็ง by pooky |
HealthDay News: แม้ว่าแนวคิดเกี่ยวกับเซลล์ต้นกำเนิด หรือ Stem cell ยังมีข้อโต้แย้ง ผลงานวิจัยใหม่พิสูจน์ว่า เซลล์ที่แตกต่างมีในมนุษย์ จากการติดตามทางพันธุกรรมของนักวิจัยพบว่า มีการก่อกลายพันธุ์ของยีนที่เชื่อมโยงในการเกิดมะเร็ง เขาสามารถสะกดรอยย้อนไปถึงเซลล์ต้นกำเนิดมะเร็ง เซลล์เหล่านี้เป็นรากเหง้าของเซลล์มะเร็งที่ทำหน้าที่สนับสนุนการเจริญและแพร่กระจายเซลล์มะเร็งสเต็มเซลล์มะเร็งสามารถทดแทนตัวเองได้ และสร้างเซลล์มะเร็งชนิดใหม่เช่นเดียวกับที่เซลล์ปกติที่สร้างมาทดแทนได้ อ่านต่อ... |
Ramucirumab รักษาโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร by host |
Ramucirumab (Cyramza) เป็นยาใหม่ที่ได้รับอนุมัติจาก FDA ให้ใช้รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งกระเพาะอาหารระยะก้าวหน้า หรือมะเร็งที่รอยต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร (gastroesophageal junction) อ่านต่อ... |
อาหารไขมันสูงอาจเร่งมะเร็งเต้านม by host |
HealthDay News: เป็นที่ถกเถียงกันมานานกว่า 30 ปีว่า การกินอาหารไขมันสูงเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมหรือไม่ ปัจจุบันนี้มีงานวิจัยสนับสนุนว่าการกินอาหารไขมันสูงอาจเร่งการเกิดมะเร็งเต้านม 3 ชนิด อ่านต่อ... |
ความก้าวหน้าในโรคมะเร็งมีมากกว่าที่คิด by host |
HealthDay News: แม้ว่าการตายจากโรคมะเร็งยังมิได้ลดลงในทศวรรษที่ผ่านมาเหมือนกับโรคหัวใจ แต่ความก้าวหน้าในวิทยาการด้านมะเร็งมีมากกว่าที่คิด ในขณะที่การตายจากโรคหัวใจ โรคสมองขาดเลือด และอุบัติเหตุลดลงเรื่อย ๆ ทำให้ผู้คนมีอายุยืนยาวขึ้นจนต้องมาเจอกับโรคมะเร็งตอนแก่และเสียชีวิต นั่นคือคำสัมภาษณ์ของ Dr.Samir Soneji หัวหน้าคณะวิจัยคณะแพทยศาสตร์กีเซล ตัวอย่างเช่น จากการศึกษาพบว่า การตายจากโรคหัวใจลดลงถึง 62% ในช่วงปี ค.ศ. 1970-2008 ในช่วงเดียวกันนี้ การตายจากอุบัติเหตุลดลงมากกว่า 1 ใน 3 แต่การตายจากโรคมะเร็งลดลงเพียง 12% อ่านต่อ... |
ตรวจเลือดรู้มะเร็งตับอ่อนแต่เนิ่น by pooky |
HealthDay News: นักวิจัยชาวเดนมาร์กพบว่า การตรวจเลือดเพื่อหามะเร็งตับอ่อนมักจะให้ผลบวกไม่จริง แต่วิธีการใหม่นี้ตรวจมะเร็งตับอ่อนระยะแรกเริ่มได้ผลแม่นยำ จึงอาจเป็นวิธีที่ช่วยให้แพทย์ตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มแรกได้ อ่านต่อ... |
ยาต้านภูมิแพ้รักษามะเร็งผิวหนัง by pooky |
Reuters: ยารุ่นใหม่ที่กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันสามารถใช้รักษาโรคมะเร็งผิวหนัง (melanoma skin cancer) ให้หายขาดได้ ซึ่งโรคนี้เมื่อหลายปีก่อนเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรงถึงตายอย่างเฉียบพลัน อ่านต่อ... |
มะเร็งปอดรักษาด้วยเคมีบำบัดก็พอ by pooky |
HealthDay News: การรักษาโรคมะเร็งปอดระยะก้าวหน้าด้วยเคมีบำบัดอย่างเดียว หรือใช้ยาเคมีบำบัดแล้วตามด้วยการผ่าตัดและการฉายรังสี ก็ให้ผลในการยืดอายุไม่ต่างกัน อ่านต่อ... |
ศึกษายีนรู้ต้นเหตุมะเร็ง by pooky |
Reuters Health: นักวิจัยชาวอังกฤษได้วางแผนผังกระบวนการก่อกลายพันธุ์ที่อยู่เบื้องหลังการเกิดมะเร็งผลงานนี้จะนำไปสู่การป้องกันและรักษาโรคมะเร็งในอนาคต อ่านต่อ... |
Afatinib รักษามะเร็งปอด NSCLC by pooky |
Afatinib (G ilotrif) ได้รับอนุมัติจากองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (FDA) ให้จำหน่ายแล้วสำหรับใช้รักษาโรคมะเร็งปอดชนิด NSCLC (nonsmall cell lung cancer) ระยะแพร่กระจาย โดยที่เซลล์มะเร็งมีการก่อกลายพันธุ์ของยีน epidermal growth factor receptor (EGFR) เมื่อตรวจโดยใช้ชุดทดสอบที่ได้รับอนุมัติจาก FDA
อ่านต่อ... |
แอสไพรินลดขนาดมะเร็ง by pooky |
Reuters Health: คนไข้ที่เป็นมะเร็งปอดและมะเร็งลำไส้ใหญ่ที่กินแอสไพรินขนาดต่ำประจำก่อนที่จะมีการตรวจมะเร็งมักจะพบว่ามะเร็งมีขนาดเล็ก
อ่านต่อ... |
วัคซีนโรคมะเร็งปากมดลูกปลอดภัยแต่ใช้น้อย by pooky |
HealthDay News: ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐอเมริกา (CDC) รายงานว่า ความพยายามที่จะให้วัคซีนแก่สตรีเพื่อป้องกันโรคมะเร็งซึ่งมีต้นเหตุจากเชื้อไวรัส human papillomavirus (HPV) ยังไม่ค่อยคืบหน้า มีสตรีที่ฉีดวัคซีน HPV เท่าเดิม ในปี ค.ศ. 2011 และ 2012 คิดเป็นประมาณ 53% ของสตรีที่เคยได้รับวัคซีน HPV อย่างน้อย 1 ครั้ง สตรีที่ได้รับวัคซีนจนครบโด๊ส 3 ครั้งมีเพียง 1 ใน 3 ของสตรีทั้งหมด อ่านต่อ... |
แอสไพรินอาจต้านโรคมะเร็ง by pooky |
HealthDay News: แอสไพรินและยาที่คล้ายคลึงกันอาจต้านโรคมะเร็งโดยลดบทบาทของ DNA ที่ก่อกลายพันธุ์
อ่านต่อ... |
Dabrafenib ยารักษาโรคมะเร็งผิวหนัง by pooky |
Dabrafenib (Tafinlar) เป็นยาใหม่ของบริษัท GlaxoSmithKline (GSK) ที่เพิ่งได้รับอนุมัติจาก US FDA ให้ใช้เป็นยาเดี่ยวชนิดรับประทานเพื่อรักษาโรคมะเร็งชนิดที่ผ่าตัดไม่ได้ (unresectable melanoma) หรือชนิดที่แพร่กระจายแล้ว (metastasis melanoma) ในผู้ใหญ่ที่มียีน BRAF V600E ก่อกลายพันธุ์ โดย ใช้ชุดตรวจยีนที่ผ่านการรับรองจาก US FDA แล้ว ชื่อ THxID-BRAF ของบริษัท BioMerieux SA อ่านต่อ... |
เสียดท้องเรื้อรังเสี่ยงต่อโรคมะเร็งลำคอ by pooky |
HealthDay News: คนที่มีอาการเสียดท้องเรื้อรังมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งลำคอและกล่องเสียงเพิ่มขึ้น แม้ว่าจะไม่สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์เป็นที่น่าสนใจว่ายาลดกรดแบบเดิม ๆ สามารถป้องกันโรคมะเร็งเหล่านี้ได้ ในขณะที่ยารุ่นใหม่ เช่น Prilosec, Nexium และ Prevacid ไม่ได้ผล อ่านต่อ... |
ตรวจ PSA มีประโยชน์จริงหรือ by pooky |
Reuters Health: ผู้ชายสูงวัยมักจะไปตรวจมะเร็งต่อมลูกหมากโดยวิธี prostate specific antigen (PSA) test แล้วตามด้วยการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ แม้ว่าอาการของโรคจะเจริญช้า ๆ และดูไม่เป็นอันตรายต่อชีวิตแต่อย่างใด
อ่านต่อ... |
บุหรี่เพิ่มการเกิดมะเร็งในคนงานแร่ใยหิน by pooky |
HealthDay News: ผู้สูบบุหรี่ที่ทำงานแร่ใยหิน (asbestos) และมีปอดอักเสบจากใยหินมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งปอดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ อ่านต่อ... |
ตรวจยีนบอกชนิดของมะเร็งเต้านม by pooky |
HealthDay News: การตรวจยีนอาจช่วยบอกได้ว่าสตรีมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมบางชนิดได้หรือไม่
นักวิจัยพบว่ายีนบางตัวมีการทำงานได้ดีเกินหรือด้อยเกินไป การตรวจยีนอาจช่วยให้แพทย์บอกได้ว่าสตรีมีมะเร็งชนิด estrogen receptor positive (ERP) หรือ estrogen receptor negative (ERN) cancer เพื่อให้แพทย์เลือกใช้วิธีในการป้องกันโรคมะเร็งเต้านมที่เหมาะสม
อ่านต่อ... |
Kadcyla รักษามะเร็งเต้านม by pooky |
Kadcyla (ado-trastuzumab emtansine) เป็นยารักษาโรคมะเร็งเต้านมระยะสุดท้ายตัวใหม่ที่ได้รับอนุมัติจาก US FDA ให้ออกจำหน่ายได้ ใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษามะเร็งชนิด HER2-positive metastatic breast cancer (mBC) ในผู้ป่วยที่เคยใช้ยา Herceptin (trastuzumab) และยารักษามะเร็งกลุ่ม taxane มาแล้ว ผู้ป่วยควรเป็นผู้ที่เคยได้รับยารักษาโรคมะเร็งระยะแพร่กระจายมาแล้ว หรือเป็นระยะเริ่มแรกของการกลับเป็นซํ้าของมะเร็งที่กลับมาอีกภายใน 6 เดือนที่จบการรักษาด้วยยาภายหลังผ่าตัด อ่านต่อ... |
ใช้ไวรัสรักษามะเร็งตับ by pooky |
ไวรัสอยู่กับมนุษย์มานานแค่ไหน นับพันนับหมื่นปีไม่มีใครทราบ สิ่งที่มันทำคือ การติดเชื้อทั้งไม่รุนแรงและรุนแรงจนทำให้มนุษย์เสียชีวิตนับล้าน แต่มาวันนี้ไวรัสกำลังจะเป็นเครื่องมือสำคัญอันเป็นประโยชน์แก่มนุษย์แล้ว
อ่านต่อ... |
มะเร็งเน็ท ภัยเงียบที่มาโดยไม่รู้ตัว by pooky |
เป็นที่ทราบกันดีว่ามะเร็งคือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายที่เกิดความผิดปกติที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์รวดเร็วมากกว่าปกติ และอาจทำให้ก้อนเนื้อเกิดความผิดปกติจนในที่สุดก็จะทำให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น โดยถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะเรียกชื่อมะเร็งตามอวัยวะนั้น เช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น ซึ่งเท่าทีมี่รายงานไว้ในขณะนี้พบว่า ในร่างกายมนุษย์สามารถพบมะเร็งได้มากกว่า 100 ชนิด โดย มะเร็งเน็ท (NET, Neuroendocrine Tumor) ก็เป็นมะเร็งอีกชนิดหนึ่งที่พบได้น้อย และยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักในประเทศไทย อ่านต่อ... |
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก by pooky |
HealthDay News: ความสำเร็จในการคิดค้นวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกนับเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ แม้ว่ามีสตรีกว่า 500,000 คนที่เป็นมะเร็งปากมดลูกในแต่ละปี ผู้เชี่ยวชาญทำนายว่าจำนวนนี้จะลดลงมากในช่วงต่อจากนี้ เพราะมีวัคซีนใหม่ 2 ตัวที่สามารถป้องกันโรคนี้ได้
อ่านต่อ... |
ยาเคมีบำบัดได้ผลแต่คนไข้มักลืมกิน by pooky |
HealthDay News: แม้ว่ายาเคมีบำบัดชนิดกินจะสามารถเข้าไปยังเซลล์มะเร็งได้ดีกว่ายาฉีดแบบเก่าแต่คนไข้บางคนมักไม่ใช้ยาตามกำหนด
อ่านต่อ... |
ยาเม็ดจิ๋วยืดอายุผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ by pooky |
HealthDay News: ผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ระยะก้าวหน้าซึ่งมีเนื้องอกในตับ เมื่อฝังยาเม็ดจิ๋วที่เป็นสารกัมมันตรังสีไว้ใกล้มะเร็ง อาจจะยืดอายุได้เกือบปีเมื่อเทียบกับผู้ที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดอย่างเดียว นับเป็นการศึกษาครั้งใหม่ในคนไข้จำนวนไม่มาก อ่านต่อ... |
Iclusig รักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว by pooky |
Iclusig (ponatinib) เป็นยาใหม่ที่เพิ่งได้รับอนุมัติจาก US FDA ให้ใช้รักษาโรคมะเร็งของเม็ดโลหิตขาวที่เรียกว่า chronic myeloidleukemia (CML) และมะเร็งโลหิตขาวชนิด Philadelphia chromosome positive acute lymphoblastic leukemia (Ph+ALL) ซึ่งเป็นชนิดที่พบน้อยในโรคเลือดและไขกระดูกของผู้ใหญ่ อ่านต่อ... |
ตรวจ DNA ในเลือดรู้ผลมะเร็งบางชนิด by pooky |
HealthDay News: วิธีตรวจ DNA ในเลือดแบบใหม่อาจบอกได้ว่าคนไข้มีมะเร็งหรือไม่ ผลการศึกษานี้ยังเป็นขั้นต้นและมีราคาค่อนข้างแพงมาก หากได้ผลจริงก็ยังไม่รู้จะนำมาใช้อย่างไร อย่างไรก็ตาม นับเป็นความก้าวหน้าอย่างมากในการทดสอบยีน อ่านต่อ... |
แอสไพรินลดมะเร็งและการตายด้วยโรคตับ by pooky |
|